ปีการศึกษา | ชื่อวิทยานิพนธ์ | นักศึกษาโท | ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ |
2566 | การมีส่วนร่วมทางการเมืองของคนพิการในสถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการ กรณีศึกษาสถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการแห่งหนึ่ง ในพื้นที่เขตปริมณฑล | ปฏิยุทธ บุญผลึก | อ.ดร.ภูมิ เพชรกาญจนาพงศ์ |
2566 | ประสิทธิผลในการดำเนินงานของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ : พื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา | ดารัณ ชนะสิทธิ์ | อ.ดร.ภูมิ เพชรกาญจนาพงศ์ |
2566 | บทบาทของระบบอุปถัมภ์กับการกระจายทรัพยากรของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ | มุสลิม จารง | อ.ดร.ภูมิ เพชรกาญจนาพงศ์ |
2566 | กลยุทธ์ทางการตลาดการเมืองที่สอดคล้องกับพฤติกรรมทางการเมืองของ 4 เจนเนอเรชั่น | รัตนพล โตทิพย์ | ผศ.ดร.สุวิชา เป้าอารีย์ |
2566 | การศึกษาผลกระทบของหลักการสิทธิมนุษยชนในการดำเนินนโยบายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด | พิชญกิตติ์ บุญปู่ | ผศ.ดร.สุวิชา เป้าอารีย์ |
2566 | ภาวะผู้นำและยุทธศาสตร์การบริหารของอังเกลา แมร์เคิล | พัทธนาถ รัตนวนิจ | รศ.ดร.นรีนุช ดำรงชัย |
2566 | การเป็นผู้ประกอบการและการขยายตัวของร้านอาหารจีนในเขตห้วยขวางกรุงเทพมหานคร | พชร เลิศสรรพทรัพย์ | ศ.ดร.สมศักดิ์ สามัคคีธรรม |
2565 | แนวทางการพัฒนาบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลบางโฉลง จังหวัดสมุทรปราการ | ศุภโชค สังฆพันธ์ | ผศ.ดร.หลี่ เหรินเหลียง |
2565 | การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิรูปการปกครองและการพัฒนาประชาธิปไตยของญี่ปุ่น - ไทย | จักรวรรดิ อนันต์โชตวงศ์ | รศ.ดร.นรีนุช ดำรงชัย |
2565 | บทบาทรัฐต่อนโยบายการรับถือการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของแรงงานไทย | บุญทวี ดวงนิราช | ผศ.ดร.จเร สิงหโกวินท์ |
2565 | ผู้ใหญ่บ้านหญิง : บทบาทและการใช้อำนาจในการปฏิบัติหน้าที่ | กฤตพจน์ เจริญสุข | ผศ.ดร.จเร สิงหโกวินท์ |
2562 | ระบบอุปถัมภ์ในคติเห็นแก่เครือญาติ กับประสิทธิผลของการทำหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา | ต่อสกุล พุทธพักตร์ | ผศ.ดร.สุวิชา เป้าอารีย์ |
2561 | การศึกษาพุทธปรัชญาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน | ชัชฎาภรณ์ อยู่เย็นเป็นสุข | ศ.ดร.สมศักดิ์ สามัคคีธรรม |
2561 | ขบวนการนักศึกษาหายไปไหน : การเปลี่ยนแปลงของขบวนการนักศึกษาไทยในช่วงความขัดแย้งทางการเมือง พ.ศ. 2549 - 2557 | ชยุตม์ พันธุ์สุวรรณ | ศ.ดร.สมศักดิ์ สามัคคีธรรม |
สถาบันชั้นนำของประเทศที่สร้างองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาทางสังคม
คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร เริ่มจากการเปิดสาขาพัฒนาสังคมในสังกัดของสำนักวิจัยในปี 2526 สำหรับการก่อเกิดสาขาพัฒนาสังคมนั้น สืบเนื่องจากคณาจารย์ของสำนักวิจัยในขณะนั้น เห็นว่าสาขาที่มีการเรียนการสอนอยู่ในสถาบันยังขาดทางด้านพัฒนาสังคม เนื่องจากขณะนั้นมีเพียง 4 คณะ คือ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสถิติประยุกต์ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ และคณะบริหารธุรกิจ
ปรัชญาสังคมศาสตร์:
การอธิบายทางสังคม
รากฐานสำหรับการวิจัย
ทางสังคมศาสตร์
โดย รศ.ดร.พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
อุดมการณ์การเมืองร่วมสมัย:
แก่นความคิด วิสัยทัศน์
นโยบาย และยุทธศาสตร์
โดย รศ.ดร.พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
ท่านสามารถร้องเรียน แจ้งปัญหา หรือเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาคณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร โปรดระบุชื่อเรื่องที่ร้องเรียน แจ้งปัญหา หรือแนะนำ เป็นข้อความภาษาไทยเพื่อความรวดเร็วในการสื่อสาร ผ่านทางอีเมล dean.sdas@nida.ac.th หรือฟอร์มติดต่อนี้